คณิตศาสตร์

วันเสาร์ที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2560

4.ฟังก์ชันเชิงเส้น

ฟังก์ชันเชิงเส้น   คือ ฟังก์ชันที่อยู่ในรูป y = ax+b เมื่อ a ,b เป็นจำนวนจริง และ  กราฟของฟังก์ชันเชิงเส้นจะเป็นเส้นตรง

           ตัวอย่างของฟังก์ชันเชิงเส้น   ได้แก่ อ่านต่อ
http://www.vcharkarn.com/lesson/1481

           1)   y = x                                                                                    

3.3ค่าสมบูรณ์ของจำนวนจริง

ค่าสมบูรณ์ของจำวนจริง a : เมื่อกำหนดให้ a เป็นจำนวนจริงระยะจากจุด 0 ถึงจุดที่แทนที่จำนวนจริง a เขียนแทนด้วย |a|
เช่น |2| หมายถึง ระยะจากจุด 0 ถึงจุดที่แทนจำนวน 2 ซึ่งเท่ากับ 2 อ่านต่อ

http://www.mathmyself.com/M4/P55/230/ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริง.htm

3.2การไม่เท่ากัน

การเท่ากันของจำนวนจริง
การเท่ากันของจำนวน เราใช้ “ = ” แทนการเท่ากัน เช่น
1 + 2 = 3 ; 6 x 2 = 12
5 – 3 = 2 ; 24 ÷ 3 = 8
 1. สมบัติการสะท้อน
ถ้า a เป็นจำนวนจริงใด ๆ แล้ว a = a
เช่น 3 = 3 อ่านต่อ
https://orawanintawong.wordpress.com/บทเรียน/หน่วยที่-1/สมบัติการเท่ากันและการ/

3.จำนวนจริง

จำนวนจริง
เซตของจำนวนจริงประกอบด้วยสับเซตที่สำคัญ  ได้แก่
- เซตของจำนวนนับ/ เซตของจำนวนเต็มบวก เขียนแทนด้วย  I
                   I = {1,2,3…} อ่านต่อ
https://sites.google.com/site/khnitsastrm4/bth-thi-4-canwncring
                   

2.2การให้เหตุผลแบบนิรนัย

การ ให้เหตุผลแบบนิรนัยเป็นการนำความรู้พื้นฐานซึ่งอาจเป็นความเชื่อ ข้อตกลง กฎ หรือบทนิยาม ซึ่งเป็นสิ่งที่รู้มาก่อน และยอมรับว่าเป็นความจริงเพื่อหาเหตุผลนำไปสู่ข้อสรุป เป็นการอ้างเหตุผลที่มีข้อสรุปตามเนื้อหาสาระที่อยู่ภายในขอบเขตของข้ออ้าง ที่กำหนด อ่านต่อ
https://coolaun.com/m4/basic41/reason/

2.กาารให้เหตุผลแบบอุปนัย

การให้เหตุผลแบบอุปนัย
           การให้เหตุผลแบบอุปนัย  เป็นการให้เหตุผลโดยอาศัยข้อสังเกตหรือผลการทดลองจากหลาย ๆ ตัวอย่าง มาสรุปเป็นข้อตกลง หรือข้อคาดเดาทั่วไป  หรือคำพยากรณ์ ซึ่ง อ่านต่อ
https://maridsanan48.wordpress.com/2012/03/01/การให้เหตุผลแบบอุปนัยแ/

1.4.สับเซตและเพาเวอร์เซต

สับเซต (subset) ถ้าแปลตรงตัวก็คือ เซตย่อย ที่ย่อยออกมากจากอีกเซต เช่น ถ้าบอกว่า A เป็นสับเซตของ B นั้นหมายความว่า เซต B จะต้องใหญ่กว่าหรือเท่ากันกับเซต Aและเนื่องจากเซต A ย่อยออกมาจากเซต B สมาชิกทุกตัวใน A จะต้องอยู่ในเซต B ด้วย
อ่านต่อ
https://www.opendurian.com/learn/subset_and_powerset/
สับเซต ใช้สัญลักษณ์ 
เซต A เป็นสับเซตของเซต B ใช้สัญลักษณ์ AB และสมาชิกทุกตัวในเซต A อยู่ในเซต B
ไม่เป็นสับเซต ใช้สัญลักษณ์ 
เซต A ไม่เป็นสับเซตของเซต C ใช้สัญลักษณ์ AC ซึ่งจะต้องมีสมาชิกตัวใดตัวหนึ่งใน A ที่ไม่เป็นสมาชิกของ C่